วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

บทที่ 6 อินเทอร์เน็ต


บทที่ 6
อินเทอร์เน็ต
ตอนที่ 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม  ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ ) ตอบแบบสั้น

1. อินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอลใดเป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อเชื่อมเครือข่ายเข้าด้วยกัน
    ตอบ    TCP / IP
2. อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายของเครือข่ายเดิมมีชื่อว่าอะไร
    ตอบ     เครือข่าย อาพาเน็ต
3. อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยออนไลน์โดยสมบูรณ์เมื่อใด มีชื่อเรียกว่าอะไร
    ตอบ    สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 มีชื่อเรียกว่า เครือข่ายไทยสาร หรือไทยสารอินเทอร์
5. โปรโตคอลคืออะไร
    ตอบ    ข้อกำหนดที่อธิบายวิธีสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการออกแบบโปรแกรม
7. ระบบชื่อโดเมนคืออะไร
    ตอบ   ระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบอาจจะแตกต่างกันหรือมีฮาร์ดแวร์แตกต่างกัน แต่สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างเครือข่ายได้ด้วยซอฟแวร์ในเครือ
9. องค์กรใดในประเทศไทยทำหน้าที่ควบคุมดูแลจัดการเกี่ยวกับการตั้งชื่อโดเมนในอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย ให้บริการจดทะเบียนชื่อโดเมนไม่ให้ซ้ำกัน
    ตอบ   Tnter NTC หรือ (Network Information Canter)

ตอนที่  3 อธิบายคำศัพท์ (หมายถึง การแปลคำศัพท์ ขยายความ อธิบายเพิ่มเติม ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ) ตอบแบบสั้น
1. HTML
    การแสดงผลได้ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
2. SLIP/PPP
    เป็นการเชื่อมต่อผ่านโมเด็มหรือสายโทรศัพท์หรือสายสื่อสารอนุกรมโดยใช้โปรโตคอล SLIP สำหรับเชื่อมสายสื่อสารอนุกรม และ PPP เพื่อให้สามารถใช้อ่านร่วมกับโปรโตคอลอื่นได้
3. IP Address
    หมายเลขประจำตัวเครื่องมีขนาด 32 บิต แยกออกเป็นตัวเลข 4 ส่วน ๆ ละ 8 บิต แต่ละส่วนมีค่าไม่เกิน 255 แต่ละส่วนคั่นด้วยเครื่องหมายจุด
4. TCP/IP
    เครื่องที่ให้บริการของโกฟอกร์ สามารถที่จะค้นหาและรับข้อมูลแบบง่ายบนอินเทอร์เน็ตโดยไม่ยุ่งยากและสามารถรับข้อมูลได้หลายแบบ
5. Encryption
    การป้อนข้อมูลเป็นรหัสลับที่ไม่สามารถอ่านได้ ผู้ที่สามารถเข้ารหัสได้คือผู้ที่ทราบรหัสเท่านั้นจึงจะเข้าถึงข้อมูลได้
6. PGP
    เป็นโปรแกรมเข้ารหัส ชนิดรหัสสาธารณะเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างผู้ใช้ด้วยกันในระบบเครือข่าย เป็นโปรแกรมประเภทฟรีแวร์
7. Teleconferencing System
     การประชุมหรือการสัมมนาผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ประชุมไม่จำเป็นต้องอยู่ที่เดียวกันแต่คุยกันได้ มองเห็นกันได้ผ่านทางจอของคอมพิวเตอร์
8. Virtual University
     ระบบมหาวิทยาลัยเสมือนออกแบบมาเพื่อใช้ในการศึกษาทางไกล ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนและเรียนจากมหาวิทยาลัยผ่านอินเทอร์เน็ต
9. Web Page
    แต่ละหน้าของเว้บ ประกอบด้วย ข้อมูล รูปภาพ เสียง และดีวีดี โดยเป็นข้อมูลแบบสื่อผสมหรือมัลติมีเดีย
10. Home Page
    หน้าแรกของเว็บไซต์





ผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตปัจจุบันมีบริษัทไหนบ้าง ?

          หน้าที่หลักๆของ ISP ก็คือ การให้บริการทางอินเทอร์เน็ต การดูแล Website การตรวจสอบข้อมูลที่จะผ่านออกไปลงในเว็บ ผู้ให้บริการ ISP มี 18 แห่งคือ
1.บริษัท ล็อกซ์เล่ย์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จำกัด
2. บริษัท เคเอสซี คอมเมอร์เชียล อินเทอร์เน็ต จำกัด
 3. บริษัท อินโฟ แอคเซส จำกัด
4. บริษัท สามารถ อินโฟเน็ต จำกัด
 5. บริษัท เอเน็ต จำกัด
 6. บริษัท ไอเน็ต (ประเทศไทย) จำกัด
 7. บริษัท เวิลด์เน็ต แอน เซอร์วิส จำกัด
 8. บริษัท ดาตา ลายไทย จำกัด
9. บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ต จำกัด
10. บริษัท ดิไอเดีย คอร์ปอเรชั่น ประเทศไทย จำกัด
 11. บริษัท สยาม โกลบอล แอกเซส จำกัด
12. บริษัท ซีเอส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
 13. บริษัท อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จำกัด
 14. บริษัท ชมะนันท์ เวิลด์เน็ต จำกัด
15. บริษัท ฟาร์อีสต์ อินเทอร์เน็ต จำกัด
16. บริษัท อีซีเน็ต จำกัด
17. บริษัท เคเบิล วายเลส จำกัด
 18. บริษัท รอยเน็ต จำกัด (มหาชน)

บทที่ 5 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย


บทที่  5  การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย
ตอนที่ 1  อธิบาย (หมายถึงการให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ )  ตอบแบบสั้น
1.       อธิบายความหมายของ “ระบบการสื่อสารข้อมูล”
ตอบ    การถ่ายโอนหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล (Transmission) กัน หรือการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง
2.        องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารมีอะไรบ้าง
ตอบ     1.  ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล   2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล  3.  ข้อมูล     4.   ช่องทางการสื่อสาร     5.   โปรโตคอล
3.       สัญญาณอนาล็อกต่างจากสัญญาณดิจิตอลอย่างไร
ตอบ     สัญญาณอนาล็อกเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลต่อเนื่องกัน แต่สัญญาณดิจิตอลเป็นการส่งสัญญาณแบบฐานสอง
4.       รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูลแบบ  Full – Duplex เป็นอย่างไร
ตอบ     เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทางสามารถโต้ตอบสนทนาได้ทันที เช่น การพูดโทรศัพท์
5.       สื่อกลางในการสื่อสารชนิดสื่อที่สามารถกำหนดเส้นทางได้เป็นอย่างไร ยกตัวอย่าง
ตอบ    เป็นสายคู่เกลียวและสายเอสทีพี สายคู่เกลียวได้แก่ สายโทรศัพท์  สายเคเบิลใยแก้วนำแสง สายเอสทีพี ได้แก่  การข้องกับสัญญาณรบกวน
6.       สายโคแอกเชียลมีคุณสมบัติอย่างไร  ยกตัวอย่างการนำสายชนิดนี้มาใช้งานด้านใดได้บ้าง
ตอบ   ส่งข้อมูลด้วยความเร็วที่สูงกว่าและส่งได้ไกลกว่า นำมาใช้งานด้านเคเบิลทีวี ระบบเครือข่าย LAN และระบบโทรศัพท์เป็นต้น
7.       เพราะเหตุใดจึงนำเอาสายเคเบิลใยแก้วนำแสงมาเป็นแกนหลัก (Backbone) ของเครือข่าย
ตอบ    สายแก้วมีช่องสัญญาณสูงกว่าสายทองแดงหลายร้อยเท่า จึงถูกนำมาใช้งานระบบเครือข่ายความเร็วสูง อัตราการสูญเสียพลังงานต่ำ
8.       หากไม่ต้องการใช้สายเคเบิลใยแก้วนำแสงเป็นแกนหลักของเครือข่าย จะใช้สื่อชนิดใดได้แทนได้ เพราะเหตุใด
ตอบ   สายคู่บิดเกลียวและสายโคแอกเชียลเพราะเป็นสื่อกลางในการสื่อสารในการสื่อสารแบบสามารถกำหนดเส้นทางได้เหมือนกัน
9.       อธิบายความหมายของ “ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์”
ตอบ   หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปที่เป็นอิสระต่อกัน นำมาเชื่อมต่อกันได้โดยไม่จำกัด
10.   ประโยชน์ของระบบเครือข่ายมีอย่างไรบ้าง
ตอบ   1.  การใช้ทรัพยากรร่วมกัน    2.  การติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ใช้   3.  เพิ่มความน่าเชื่อถือ   4.  สามารถประมวลผลแบบกระจายได้    5.  ประหยัดปริมาณ   6.  สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยากรจากส่วนกลาง


ตอนที่  3  อธิบายศัพท์
1.       UTP
ตอบ   เป็นสายคู่บิดเกลียวไม่มีฉนวนหุ้มอีกชั้นมักใช้ในการเดินสายโทรศัพท์ ละเครือข่ายใกล้ ๆ
2.       Unguided Media
ตอบ   คลื่นส่งผ่านทางอากาศ สุญญากาศ และน้ำ  คลื่นไมโครเวฟ คลื่นสัญญาณดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ
3.       Downlink
ตอบ   สัญญาณดาวลิงค์ เพื่อป้องกันการรบกวนสัญญาณที่ส่งมา
4.       Teanponder
ตอบ   ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่มารับซึ่งมีกำลังอ่อนมาก ทำการทบทวนสัญญาณและตรวจสอบ ตำแหน่งของสถานีปลายทาง
5.       Distributed System
ตอบ   ผู้ใช้สามารถประมวลผลได้เองไม่ต้องมาที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เพราะเป็นการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ๆ หลายเครื่อง
6.       WAN
ตอบ   ระบบเครือข่ายที่พยากรอากาศเชื่อมต่อครอบคลุมพื้นที่ระดับภูมิภาคระยะประมาณ 10 – 1,000 กิโลเมตร
7.       Wireless Communication
ตอบ   เครือข่ายใช่สาย  หมายถึง การสื่อสารใช้สายแบบดิจิตอล
8.       PDA
ตอบ   เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์มือถือได้รับความนิยมสูงขึ้น เนื่องจากมีความจำเป็นในการติดต่อสื่อสาร ระหว่างนำเครื่องตัวไปยังสถานีต่าง ๆ
9.       Broadcast Network
ตอบ    ประกอบด้วยช่องสื่อสารเพียงหนึ่งช่องชื่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะใช้งานร่วมกัน
10.   Application Layer
ตอบ  เป็นระดับผู้ใช้ติดต่อกับระบบเครือข่ายโปรแกรมประยุกต์ เพื่อใช้ในการบริการส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้มีมาตรฐานเดียว

วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556

เจ้าของดาวเทียมไทยคม


เจ้าของดาวเทียมไทยคม 


ดาวเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวด เร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิด ประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจาก ภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ