วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ความแตกต่างระหว่าง CPU Amd กับ CPU Intel



ความแตกต่างระหว่าง CPU Amd กับ CPU Intel
ซีพียู (CPU:Central Processing Unit) คือ หน่วยประมวลผลกลาง 
CPU นับเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่คำนวณ และประมวลผลคำสั่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ สั่งผ่านโปรแกรม ต่าง ๆ ที่ เป็นโปรแกรมประยุกต์ ซีพียูนั้นจะต้องรับภาระในการควบคุมการ ทำงานของส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นแป้นพิมพ์ เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์แสกนเนอร์ให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง 

แบบของซีพียู 
ซีพียู ของแต่ละบริษัทและแต่ละรุ่นจะมีรูปร่าง    ลักษณะโครงสร้างและจำนวนขาไม่เหมือนกัน  จากความแตกต่างกัน นี้เอง ซีพียูแต่ละตัวจึงใช้เมนบอร์ดไม่เหมือนกัน ซึ่งในปัจจุบันนี้ซีพียู สำหรับเครื่องพีซี แบบตั้งโต๊ะทั่วไป แบ่งได้เป็น 2 แบบใหญ่ๆ
  • ซีพียู แบบ Cartridge ซีพียูแบบนี้รูปร่างเป็นตลับแบนๆ ห่อหุ้มด้วยกล่องพลาสติกสี่เหลี่ยมด้านล่างจะเป็นแผงขาสัญญาณของซีพียู   สำหรับ เสียบลงในช่องแบบ สล๊อต (Slot) โดยซีพียูแบบ Cartridge ยังแบ่งแยกย่อยออกไปได้อีก 3 แบบ   ขึ้นอยู่กับแต่ละบริษัท ผู้ผลิตและรุ่นซึ่งใช้เสียบแทนกันไม่ได้ ซีพียูแบบนี้มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่าแบบ SECC  (Single Edde Connector Cartridge)  
  • ซีพียู แบบ PGA  ซีพียูแบบนี้รูปร่างเป็นชิปแบนๆ มีขาจำนวนมากอยู่ใต้ตัวซีพียู สำหรับเสียบลงในช็อคเก็ตจึงเรียก ว่า PGA    และสามารถ แบ่งออกเป็นแบบย่อยๆ ได้อีก 3 แบบ เช่นกัน ซึ่งใช้เสียบแทนกันไม่ได้ มีดังนี้ -  Socket  7  ใช้กับซีพียูรุ่นเก่า เช่น Pentium MMX , AMD K5, K6  มีจำนวนขาสัญญาณ 321 ขา -  Socket  370 พัฒนาโดย Intel ใช้กับ Pentium III, Celeron (รุ่นใหม่) และ Cyrix III มีขาสัญญาณ 370 ขา -  Socket  A พัฒนาโดย AMD เพื่อให้กับซีพียูของตนเอง ใน Athlon รุ่นใหม่และ Duron มีขาสัญญาณ 462 ขา     
บริษัทผู้ผลิต CPU
  • Intel         จากอดีตจนถึงปัจจุบันซีพียูค่ายนี้มักจะมีเทคโนโลยีการผลิตและความเร็วเหนือซีพียูจากค่ายอื่นๆโดยซีพียูตระกูลแรกที่ ใช้หมายเลขแสดงรุ่นมักจะถูกซีพียูจากค่ายอื่นเลียนแบบ โดยใช้คำว่า PR (Pentium Rate)  ตามด้วยความเร็วซีพียูเป็น MHzเนื่องจากกฏหมายลิขสิทธิ์ไม่คลอบคลุมถึงตัวเลขดังนั้นในรุ่นต่อมาอินเทล  จึงเปลี่ยนไปเรียกชื่อแทนการใช้ เลขมีดัง นี้ Pentium , Pentium MMX , Pentium Pro , Pentium III , Celeron , Pentium II , Pentium 4
  • AMD      AMD เป็นผู้ผลิตซีพียูเพียงรายเดียวของโลกที่สามารถผลิตซีพียู แข่งกับ อินเทล ได้ใกล้เคียงกันซึ่ง อินเทล มักเป็น ผู้นำทางด้านความเร็วและประสิทธิภาพ ส่วน AMD เน้นในเรื่องราคาที่ถูกกว่าในประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน จึงทำให้ผู้ ใช้ เริ่มหันมาซื้อซีพียูของ AMD กันมากขึ้นโดยซีพียูรุ่นแรกๆ ที่สร้างชื่อเสียงให้กับ AMD คือรุ่น K5, K6 ส่วนรุ่น K7 หรือ  Athlon นั้นเป็นรุ่นแรกที่ AMD สามารถผลิตให้มีความเร็วและประสิทธิภาพเหนือกว่า Intel 

      AMD เป็นผู้ผลิตซีพียูเพียงรายเดียวของโลกที่สามารถผลิตซีพียู แข่งกับ อินเทล ได้ใกล้เคียงกันซึ่ง อินเทล มักเป็น ผู้นำทางด้านความเร็วและประสิทธิภาพ ส่วน AMD เน้นในเรื่องราคาที่ถูกกว่าในประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน จึงทำให้ผู้ ใช้ เริ่มหันมาซื้อซีพียูของ AMD กันมากขึ้นโดยซีพียูรุ่นแรกๆ ที่สร้างชื่อเสียงให้กับ AMD คือรุ่น K5, K6 ส่วนรุ่น K7 หรือ  Athlon นั้นเป็นรุ่นแรกที่ AMD สามารถผลิตให้มีความเร็วและประสิทธิภาพเหนือกว่า ซีพียูของฝั่ง Intel

ซีพียูของทางฝั่งค่าย AMD มีดังนี้
ซีพียู AMD K5 
           นับเป็นคู่แข่งตัวแรกของเพนเทียม ซึ่งเป็นความพยายามครั้งแรกของ AMD ในการที่จะพัฒนาซีพียูของตัวเองขึ้นมา โดยที่ AMD เองก็เป็นผู้ที่ผลิตซีพียูมาเป็นระยะเวลานานแล้ว ตั้งแต่ 286 368 จนกระทั่งถึง 486 แต่ซีพียูที่ AMD ผลิตในช่วงนั้นยังคงถือว่าเป็นอนุพันธ์ของ Intel อยู่ เพราะมีส่วนประกอบทางเทคโนโลยีเหมือนกัน ครั้นพอมาถึงยุคเพนเทียม เราจะได้ยินคำๆ หนึ่งที่ทาง AMD และ Cyrix บอกว่า "เราไม่ได้ Compatible กับ Intel แต่งานใดก็ตามที่ซีพียูของ Intel ทำได้ ของ AMD กับ Cyrix ก็ทำได้" อย่างไรก็ตาม กว่าที่ AMD K5 จะออกมาสู่ตลาดได้ ก็เป็นช่วงหลังที่เพนเทียมได้รับความนิยมแล้ว ชื่อ AMD รุ่น K5 จึงไม่เป็นที่รู้จักเท่าใดนัก และไม่เป็นที่นิยมด้วย (ทั้งที่ความเป็นจริงแล้วราคาถูกกว่า และใช้งานได้ประสิทธิภาพเหมือน Intel)
ชื่อรุ่นของ K5 ใช้ PR (Pentium Rate) เช่นเดียวกันกับ Cyrix 6X86 (M1) และ 6X86MX (M2) รุ่นที่หาได้จาก AMD K5 คือ PR75-PR166 สิ่งที่แตกต่างก็คือ PR100 ก็คือ CPU 100 MHz และ PR166 ก็คือซีพียูความเร็ว 166 MHz ไม่เหมือน Cyrix 6x86MX ที่ PR233 จะเป็นซีพียูที่มีความเร็ว 200 MHz
  รูปซีพียูAMD K5


ซีพียู AMD K6
          ซีพียูรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกในพัฒนาการของซีพียูรุ่นที่ 6 ของ AMD และได้ใส่ความสามารถ MMX เข้าไปด้วย ทำให้เมื่อเทียบชั้นกับ Pentium รุ่นที่เป็น MMX แล้วจะเหนือกว่าเล็กน้อย โดยภาพนอกยังคงใช้บัส 66 MHzและแคชขนาด 256 KB ถึง 1 MB แต่ความถี่ของสัญญาณนาฬิกาที่ใช้เพิ่มขึ้นเป็น 166,200,233 และ 266 MHz ส่วนเมนบอร์ด ซ็อคเก็ต และชิปเซ็ตที่ใช้จะเหมือนกันกับ Pentium ทุกประการ

  รูปซีพียูAMD K6



ซีพียู AMD K6-2
          ซีพีรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกที่ AMD ใส่คำสั่งแบบ 3Now! เข้าไปใน K6 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลคำสั่งที่มีข้อมูลจำนวนมาก เช่นการคำนวณทางด้านสามมิติ โดยเป็นการเพิ่มขึ้นจากชุดคำสั่งแบบ MMX (ที่คอมแพตติเบิลกับของ Intel) ซึ่งมีอยู่แล้วใน K6 นอกจากนี้ยังเป็นครั้งแรกที่ใช้บัส 100 MHz และ ซ็อคเก็ตแบบ Socket 7 หรือ Super 7 แต่อย่างไรก็ตาม K6-2 ยังคงใช้แคชระดับสองอยู่ภายนอกซีพียู โดยมีขนาด 512 KB, 1 MB หรือ 2 MB ซึ่งต้องทำงานที่ความเร็วเดียวกันกับบัสภายนอก ทำให้ไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าที่ควร หลังจากนั้นไม่นาน AMD ก็ออก K6-3 ที่มีแคชระดับสองอยู่ในตัว ทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างดีขึ้น แต่ K6-2 ก็ยังคงมีอยู่มากมายหลายรุ่นราคาถูกมา ๆ เหมาะสำหรับู้ต้องการเริ่มต้นซื้อเครื่องที่ลงทุนน้อยแต่ได้คุณภาพสูงพอสมควร ความเร็วของซีพียูรุ่นนี้มีตั้งแต่ 300 MHz ขึ้นไปจนถึง 457 MHz

  รูปซีพียู AMD K6-2
ซีพียู AMD K6-3
     ซีพียูรุ่นนี้เป็นการนำเอารุ่นเดิมคือ K6-2 มาเพิ่มแคชระดับสองขนาด 256 KB เข้าไปในชิป และเพิ่มความสามารถในการรองรับแคชระดับสามที่อยู่ภายนอก (บนเมนบอร์ด) ได้อีกด้วย ทั้งขนาด 512 KB, 1 MB และ 2 MB ส่วนแคชระดับหนึ่งมี 32 KB แบบสองทาง บัสที่ใช้มีความถี่ 100 MHz ใช้ซ็อคเก็ตแบบ Super 7 และมีชุดคำสั่ง MMX กับ 3Dnow! เช่นเดียวกันกับ K6-2 ความเร็วของซีพียูรุ่นนี้มีเพียง 400 และ 450 MHz เท่านั้น ประสิทธิภาพที่ได้ก็ใกล้เคียงกับ Pentium II ที่ใช้ความถี่เท่ากัน แต่อาจต่ำกว่าเล็กน้อย
  รูปซีพียู AMD K6-3


ซีพียู 
AMD Athlon
        ซีพียู Athlon ของ AMD หรือที่เดิมใช้ชื่อว่า K7 เป็นซีพียูตัวแรกของ AMD ที่ออกมานำหน้า Intel คือมีโครงสร้างที่ล้ำสมัยกว่า และมีความเร็วในทุก ๆ ด้านเหนือกว่าซีพียูรุ่นที่ Intel มีอยู่ในท้องตลาด ณ ขณะนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านของหน่วยประมวลผลเลข floating point ซึ่ง AMD ไม่เคยทำได้เร็วเท่าของ Intel เลย
      แต่คราวนี้ก็ล้ำนำหน้าไปแล้วด้วยเช่นกัน ส่วนราคาก็ยังคงต่ำกว่าของ Intel อยู่เสมอเมื่อเปรียบเทียบกับรุ่นอื่น ๆ รุ่น 500, 550 และ 600 MHz แต่ปัจจุบันได้ไปถึง 850 MHz แล้ว ซึ่ง Athlon รุ่นแรก ๆ จะผลิตโดยเทคโนโลยีการผลิตแบบ 0.25 ไมครอน แต่ในรุ่นหลังซึ่งมีความถี่สูงขึ้นก็ได้ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการปลิตไปเป็น 0.18 ไมครอน เหมือนกับที่ ใช้ใน Pentium I
   รูปซีพียู AMD Athlon


ซีพียู AMD Duron

       ซีพียู Duron ของ AMD โพรเซสเซอร์ AMD Duron รุ่นใหม่นี้ สนับสนุนระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP ทั้งยังประกอบด้วยเทคโนโลยี AMD PowerNow! ซึ่งช่วยยืดอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ นอกจากนั้น ยังให้ประสิทธิภาพที่โดดเด่นในการรันซอฟต์แวร์ชั้นนำที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ด้านมัลติมีเดีย หรือแอพพลิเคชันสำหรับใช้งานในออฟฟิศ   ซีพียู Duron นั้นเร็วกว่า Celeron อยู่ถึง 20-40% ที่สัญญาณนาฬิกาเดียวกัน
       Duron นั้นใช้การติดต่อของบัสที่มีความกว้างของการถ่ายข้อมูลมากกว่า Celeron ถึง 3 เท่า. ซึ่ง Duron นั้นติดต่อกับระบบในแบบ 100MHz ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ 2 เท่า (double-pumped) ในขณะที่ Celeron นั้นติดต่อที่ 66MHz และเป็นแบบ 'single-pumped'
  รูปซีพียู AMD Duro

ซีพียู (CPU) Intel</title="permanent></h1> <div class="article" style="padding: 0px 10px; margin: 0px 10px 10px; font-size: 14px; color: rgb(60, 60, 60); font-family: tahoma;"> <p style="margin-right: 10px; margin-bottom: 10px; margin-left: 10px; padding: 0px 10px; line-height: 1.7em;"> <span style="padding: 0px; margin: 0px; color: rgb(255, 0, 255);">ซีพียู คืออะไร ?</span>ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นในการทำงานของคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะ<span id="more-324" style="padding: 0px; margin: 0px;"></span></p> <p style="margin-right: 10px; margin-bottom: 10px; margin-left: 10px; padding: 0px 10px; line-height: 1.7em;"> <a href="http://buddy2u.com/wp-content/uploads/2010/09/3.jpg" style="padding: 0px; margin: 0px; color: rgb(37, 125, 166);"><img src="http://buddy2u.com/wp-content/uploads/2010/09/3-300x228.jpg" alt="CPU" title="CPU" width="400" height="328" class="aligncenter size-medium wp-image-808" style="padding: 0px; margin: 10px; border: 0px;"></a></p> <p style="margin-right: 10px; margin-bottom: 10px; margin-left: 10px; padding: 0px 10px; line-height: 1.7em;"> เป็นตัวกำหนดความสำคัญของอุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสำคัญมากกว่าซึ่งหากติดตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ, การแจ้งกับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สำคัญน้อยกว่าจะไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ดจอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพเดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ดจอภาพเท่านั้น<br style="padding: 0px; margin: 0px;"><span style="padding: 0px; margin: 0px; color: rgb(255, 0, 255);">CPU ทำหน้าที่อะไร</span><br style="padding: 0px; margin: 0px;">CPU หรือ Central Processing Unit เป็นหัวใจหลักในการประมวลของคอมพิวเตอร์ โดยพื้นฐานแล้วซีพียูทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์และข้อมูลเชิงตรรกะเท่านั้น แต่ทำไมการคำนวณขนาดนี้ ต้องมีการพัฒนาซีพียูกันไม่หยุดหย่อน ย้อนกลับไปปี 1946 คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีชื่อที่พอจะจำได้ก็คือ ENIVAC นั้นทำงานโดยใช้หลอดไดโอด ซึ่งสถานะการทำงานของหลอดพวกนี้ มีสองอย่าง คือ 1 กับ 0 จะมีค่าเป็น 1 เมื่อมีกระแสไหลผ่านและเป็น 0 เมื่อไม่มีกระแสไหลผ่าน นั่นจึงเป็นเหตุผลให้คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐาน 2 ในการคำนวณ ครั้นต่อมาวิทยาการก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ จากหลอดไดโอดก็พัฒนาเป็นทรานซิสเตอร์ และจากทรานซิสเตอร์ก็พัฒนาเป็นวงจรขนาดเล็ก ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ IC และในที่สุดก็พัฒนาเป็น Chip อย่างที่เรารู้จักกันมาจนปัจจุบันนี้<br style="padding: 0px; margin: 0px;">สิ่งที่ผู้ผลิตซีพียูพยายามเพิ่มก็คือ ประสิทธิภาพในการประมวลผลของซีพียู เมื่อกล่าวถึงซีพียูและการประมวลผล สิ่งหนึ่งที่เราต้องเข้าใจคือภายในซีพียูไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสำหรับเก็บข้อมูลปริมาณมากๆ และซีพียูในยุคแรกๆ ก็ไม่มี Cache ด้วยซ้ำไป ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของซีพียูก็คือ ความเร็วในการประมวลผลและความเร็วในการโอนย้ายข้อมูล ซีพียูในยุคแรกๆ นั้นประมวลผลด้วยความเร็ว 4.77 MHz และมีบัสซีพียู (CPU BUS) ความกว้าง 8 บิต เรียกกันว่าซีพียู 8 บิต (Intel 8080 8088) นั้นก็คือซีพียูเคลื่อนย้ายข้อมูลครั้งละ 1 ไบต์ ยุคต่อมาเป็นซีพียู 16 บิต 32 บิต และ 64 บิต ปัจจุบันโดยเฉพาะซีพียูรุ่นใหม่ๆ เคลื่อนย้ายข้อมูลครั้งละ 128 บิต ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลนั้น เกิดขึ้นจากการควบคุมสัญญาณนาฬิกา ซึ่งนับสัญญาณเป็น Clock 1 เช่น ซีพียู 100 MHz หมายความว่าเกิดสัญญาณนาฬิกา 100 ครั้งต่อวินาที</p> <p style="margin-right: 10px; margin-bottom: 10px; margin-left: 10px; padding: 0px 10px; line-height: 1.7em;"> <span style="padding: 0px; margin: 0px; color: rgb(255, 0, 255);">กลไกการทำงานของซีพียู</span><br style="padding: 0px; margin: 0px;">การทำงานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปลความหมายและกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทำการประมวลผล<br style="padding: 0px; margin: 0px;">กลไกการทำงานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทำงานได้ดีขึ้น โดยแบ่งการทำงานเป็นส่วน ๆ มีการทำงานแบบขนาน และทำงานเหลื่อมกันเพื่อให้ทำงานได้เร็วขึ้น</p> <p style="margin-right: 10px; margin-bottom: 10px; margin-left: 10px; padding: 0px 10px; line-height: 1.7em;"> <span style="padding: 0px; margin: 0px; color: rgb(255, 0, 255);"> ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของซีพียู</span><br style="padding: 0px; margin: 0px;"> ความสามารถในการประมวลผล (Processing Power) คือประสิทธิภาพและความเร็วในการทำงานของซีพียู ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดหรือรุ่นของซีพียู เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) โดยทั่วไปจะใช้ซีพียูในตระกูลของอินเทล เช่น Pentium I, Pentium II, Pentium III ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นจะใช้ซีพียูที่ต่างกันออกไป<br style="padding: 0px; margin: 0px;">คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยความเร็วที่แตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้</p> <p style="margin-right: 10px; margin-bottom: 10px; margin-left: 10px; padding: 0px 10px; line-height: 1.7em;"> • รีจิสเตอร์<br style="padding: 0px; margin: 0px;">• หน่วยความจำภายนอก<br style="padding: 0px; margin: 0px;">• สัญญาณนาฬิกา เป็นจังหวะ สัญญาณ (Pulse) ในหนึ่งรอบสัญญาณ (Clock Cycle) คอมพิวเตอร์จะคำนวณหนึ่งครั้ง ส่วนความเร็วของรอบสัญญาณ คือจำนวนรอบของสัญญาณต่อวินาที ซึ่งมีความเร็วมากกว่า 100 ล้านรอบต่อวินาที (100 Megahertz) (แอนนา 2540: 9)<br style="padding: 0px; margin: 0px;">• บัส<br style="padding: 0px; margin: 0px;">• หน่วยความจำแคช<br style="padding: 0px; margin: 0px;">• Passing Math Operation</p> </div> </td></tr> </tbody></table> <p style="margin-bottom: 1.5em; text-align: start; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> <img class="alignnone size-full wp-image-4560" title="gaming-cpu-hierarchy-chart-intel-amd-march-2012" src="http://www.manacomputers.com/wp-content/uploads/2012/04/gaming-cpu-hierarchy-chart-intel-amd-march-2012.jpg" alt="" width="250" style="margin: 30px; padding: 0px; border: none; outline: 0px; max-width: 100%;"><br>ตื่นเช้ามาวันนี้ พบข้อมูลหนึ่งที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่กำลังต้องการหาซีพียูแรงๆ เพื่อเอาไว้ใช้เล่นเกมส์ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ <strong style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><span style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; color: rgb(14, 93, 185);">“เปรียบเทียบความแรงซีพียู Intel vs AMD สำหรับเล่นเกมส์”</span></strong> ซึ่งทางมานาคอมพิวเตอร์เลยอยากเอามาแจ้งไว้ให้กับผู้ที่สนใจครับ</p> <p style="margin-bottom: 1.5em; text-align: start; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> สำหรับตารางเปรียบเทียบความแรงซีพียู Intel vs AMD สำหรับเล่นเกมส์นี้ จะเป็นการเปรียบเทียบจากซีพียูที่มีความแรงจากมากไปหาน้อยของแต่ละค่าย และเป็นการเปรียบเทียบของทั้งสองค่ายว่า ความแรงของซีพียูรุ่นไหนที่แรงใกล้เคียงกันบาง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ที่กำลังมองหาซีพียูใหม่ สามาารถตัดสินใจได้ง่ายขึ้นครับ</p> <p style="margin-bottom: 1.5em; text-align: start; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> ยกตัวอย่างเช่น ซีพียูของ Intel รุ่นเหล่านี้</p> <p style="margin-bottom: 1.5em; text-align: start; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> Core i7-860, -920, -930, -940, -950<br>Core i5-750, -760, -2405S, -2400S<br>Core 2 Extreme QX9775, QX9770, QX9650<br>Core 2 Quad Q9650</p> <p style="margin-bottom: 1.5em; text-align: start; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> </p> <p style="margin-bottom: 1.5em; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> จะมีความแรงพอๆ กับซีพียูของ AMD รุ่นเหล่านี้ครับ</p> <p style="margin-bottom: 1.5em; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> FX-4170<br>Phenom 1100T BE, 1090T BE<br>Phenom II X4 Black Edition 980, 975</p> <p style="margin-bottom: 1.5em; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> โดยข้อมูลเหล่านี้อัพเดทล่าสุดเมื่อเดือนมีนาคม 2555 นะครับ</p> <div class="table-wrapper" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; line-height: 22.383333206176758px;"> <table class="editorTblTableleft editorTblSize100 editorTblStyleStyle2" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; font-size: 14px; width: 738px; border-collapse: collapse;"><tbody style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"> <tr class="tblEven" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><th colspan="2" style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px; text-align: center;"><span style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; color: rgb(0, 0, 255);">Gaming CPU Hierarchy Chart</span></th></tr> </tbody><tbody style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><th style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px; text-align: center;"><span style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; color: rgb(14, 93, 185);">Intel</span></th><th style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px; text-align: center;"><span style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; color: rgb(0, 128, 0);">AMD</span></th></tr> </tbody><tbody style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"> <tr class="tblEven" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core i7-2600, -2600K, -2700K, -3820, -3930K, -3960X<br>Core i7-965, -975 Extreme, -980X Extreme, -990X Extreme<br>Core i5-2550K, -2500K, -2500, -2450P, -2400, -2380P, -2320, -2310, -2300</td><td bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;"></td></tr> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core i7-980, -970, -960<br>Core i7-870, -875K<br>Core i3-2100, -2105, -2120, -2125, -2130</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;"></td></tr> <tr class="tblEven" bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core i7-860, -920, -930, -940, -950<br>Core i5-750, -760, -2405S, -2400S<br>Core 2 Extreme QX9775, QX9770, QX9650<br>Core 2 Quad Q9650</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">FX-4170<br>Phenom 1100T BE, 1090T BE<br>Phenom II X4 Black Edition 980, 975</td></tr> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Extreme QX6850, QX6800<br>Core 2 Quad Q9550, Q9450, Q9400<br>Core i5-650, -655K, -660, -661, -670, -680<br>Core i3-2100T, -2120T</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">FX-8150, -6200<br>Phenom II X6 1075T<br>Phenom II X4 Black Edition 970, 965, 955</td></tr> <tr class="tblEven" bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Extreme QX6700<br>Core 2 Quad Q6700, Q9300, Q8400, Q6600, Q8300<br>Core 2 Duo E8600, E8500, E8400, E7600<br>Core i3 -530, -540, -550<br>Pentium G860, G850, G840, G630</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">FX-8120, -6100, -4100<br>Phenom II X6 1055T, 1045T<br>Phenom II X4 945, 940, 920, 910, 910e, 810<br>Phenom II X3 Black Edition 720, 740<br>A8-3850, -3870K<br>A6-3650, -3670K<br>Athlon II X4 645, 640, 635, 630<br>Athlon II X3 460, 455, 450, 445, 440, 435</td></tr> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Extreme X6800<br>Core 2 Quad Q8200<br>Core 2 Duo E8300, E8200, E8190, E7500, E7400, E6850, E6750<br>Pentium G620<br>Celeron G540, G530</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Phenom II X4 905e, 805<br>Phenom II X3 710, 705e<br>Phenom II X2 565 BE, 560 BE, 555 BE, 550 BE, 545<br>Phenom X4 9950<br>Athlon II X4 620, 631<br>Athlon II X3 425</td></tr> <tr class="tblEven" bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Duo E7200, E6550, E7300, E6540, E6700<br>Pentium Dual-Core E5700, E5800, E6300, E6500, E6600, E6700<br>Pentium G9650</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Phenom X4 9850, 9750, 9650, 9600<br>Phenom X3 8850, 8750<br>Athlon II X2 265, 260, 255<br>Athlon 64 X2 6400+</td></tr> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Duo E4700, E4600, E6600, E4500, E6420<br>Pentium Dual-Core E5400, E5300, E5200, G620T</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Phenom X4 9500, 9550, 9450e, 9350e<br>Phenom X3 8650, 8600, 8550, 8450e, 8450, 8400, 8250e<br>A4-3400<br>Athlon II X2 240, 245, 250<br>Athlon X2 7850, 7750<br>Athlon 64 X2 6000+, 5600+</td></tr> <tr class="tblEven" bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Duo E4400, E4300, E6400, E6320<br>Celeron E3300</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Phenom X4 9150e, 9100e<br>Athlon X2 7550, 7450, 5050e, 4850e/b<br>Athlon 64 X2 5400+, 5200+, 5000+, 4800+</td></tr> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Core 2 Duo E5500, E6300<br>Pentium Dual-Core E2220, E2200, E2210<br>Celeron E3200</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Athlon X2 6550, 6500, 4450e/b,<br>Athlon X2 4600+, 4400+, 4200+, BE-2400</td></tr> <tr class="tblEven" bgcolor="#CCCCCC" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Pentium Dual-Core E2180<br>Celeron E1600, G440</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Athlon 64 X2 4000+, 3800+<br>Athlon X2 4050e, BE-2300</td></tr> <tr class="tblRow" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;">Pentium Dual-Core E2160, E2140<br>Celeron E1500, E1400, E1200</td><td style="margin: 0px; padding: 6px; border-width: 0px 0px 1px; border-bottom-style: dotted; border-bottom-color: rgb(204, 204, 204); outline: 0px;"></td></tr> </tbody></table> <p style="margin-bottom: 1.5em; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px;"> ขอขอบคุณข้อมูลจาก <a href="http://www.tomshardware.com/reviews/gaming-cpu-review-overclock,3106-5.html" style="margin: 0px; padding: 0px; border: 0px; outline: 0px; text-decoration: initial; color: rgb(34, 122, 209);">www.tomshardware.com</a></p> </div>

1 ความคิดเห็น: